บอกเล่า ก้าวทันหมอ

เทคโนโลยีกำหนดตำแหน่งการตัดชิ้นเนื้อต่อมลูกหมากโดยใช้ภาพสนามแม่เหล็ก

การพัฒนานำเทคโนโลยีการถ่ายภาพสนามแม่เหล็กมาใช้ร่วมกับการอัลตราซาวนด์เสมือนการสร้างแผนที่นำทางเพื่อให้ศัลยแพทย์สามารถเข้าไปตัดชิ้นเนื้อ

Intraoperative Neurophysiologic Monitoring
เพื่อการฟื้นตัวไวและคุณภาพชีวิตที่ดีหลังการผ่าตัด


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

เทคโนโลยีการเฝ้าระวังการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติระหว่างผ่าตัด คือ Intraoperative Bulbocavernosus Reflex Monitoring มาช่วยระหว่างการผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติของไขสันหลังส่วนก้นแต่กำเนิดในผู้ป่วยเด็ก

การรักษาด้วยเครื่องกระตุ้นสมองส่วนลึกด้วยไฟฟ้า

Deep Brain Stimulation หรือการรักษาด้วยเครื่องกระตุ้นสมองส่วนลึกด้วยไฟฟ้า นวัตกรรมการรักษาทางเลือกใหม่โดยศัลยแพทย์เฉพาะทางด้านประสาทศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

เทคนิคการใส่ท่อช่วยหายใจต่อชีวิตผู้ป่วยโควิด-19

Rapid Sequence Induction and Intubation (RSII) เป็นเทคนิคที่วิสัญญีแพทย์ใช้เพื่อใส่ท่อช่วยหายใจได้อย่างรวดเร็ว

ก้าวแห่งประวัติศาสตร์ของการรักษามะเร็งเต้านมด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดครั้งแรกของโลก

“โรคมะเร็งเต้านม” พุ่งสูงขึ้นถึง 19.3 ล้านคน เผยให้เห็นว่า จำนวน 1 ใน 10 ของประชากรสตรีทั่วโลกจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคมะเร็งเต้านมและมีอัตราการเสียชีวิตที่สูงอยู่

Chula Cov19 Vaccine

ChulaCov19 เป็นวัคซีน Messenger RNA รุ่นแรกที่คิดค้นออกแบบและพัฒนาโดยคนไทย ซึ่งได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากหลายภาคส่วน

ไม่มีแผล เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว

โรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหารเป็นความเจ็บป่วยอันเกิดจากความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย เมื่อการดำเนินโรคลุกลามมากยิ่งขึ้นผู้ป่วยจะต้องทนทุกข์ทรมาน

การปลูกถ่ายสเต็มเซลล์ร์รักษาผู้ป่วยโรคผิวหนังแข็งที่มีปอดเป็นพังผืด


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

ที่สุดแห่งความสำเร็จการปลูกถ่ายสเเต็มเซลล์ร์รักษาผู้ป่วยโรคผิวหนังแข็งที่มีปอดเป็นพังผืด แห่งแรกในประเทศไทย

ลูกตุ้มระงับปวด

เป้าหมายสำคัญของการใช้อุปกรณ์ลูกตุ้มระงับปวด คือการได้มอบคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดแก่ผู้ป่วยการได้เห็นผู้ป่วยไม่ต้องทุกข์ทรมานจากอาการเจ็บปวดรุนแรงหลังการผ่าตัด คือหัวใจสำคัญของการรักษา

คลินิกสุขภาพเพศครบวงจร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ปัจจุบันกลุ่มคนข้ามเพศมีความจำเป็นต้องเข้ารับบริการทางการแพทย์เพิ่มมากยิ่งขึ้น สังคมไทยให้การยอมรับเรื่องเพศโดยเฉพาะเรื่องความหลากหลายทางเพศมากขึ้น การติดต่อหรือเข้ารับการปรึกษาปัญหาเรื่องเพศเป็นเรื่องเปิดเผยมากขึ้นกว่าในอดีต

ห้องผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือด และทรวงอกไฮบริด ขีดสุดของเทคโนโลยีอัจฉริยะ

เมื่อข้อจำกัดในการรักษาเกิดขึ้นได้หลากหลายปัจจัย จึงจำเป็นต้องพัฒนาและเลือกสรรเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยเข้ามาทำการรักษาควบคู่ไปกับประสบการณ์เชี่ยวชาญ
ของแพทย์

นวัตกรรม AI ตรวจหาติ่งเนื้อ เพื่อป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

CAD EYE (Computer Aided Detection) ระบบปฏิบัติการปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ที่มีความสามารถในการตรวจหาติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่ นวัตกรรมล่าสุดแห่งแรกของประเทศไทย

ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสู่หนึ่งในผู้นำการผลิตวัคซีนโควิด-19 ของโลก

ในสถานการณ์ที่ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ยังคงเพิ่มสูงอย่างต่อเนื่องในหลายประเทศ ผู้คนทั่วโลกล้วนฝากความหวังไว้กับการพัฒนาและผลิตวัคซีนที่ป้องกันโรคโควิด-19 ได้จริง

รู้เท่าทัน…โรคโตกว่าวัย ภัยเงียบที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม

ปัจจุบันพบเด็กจำนวนมากที่กำลังประสบปัญหา “ภาวะเป็นหนุ่มเป็นสาวก่อนวัย” ซึ่งภาวะนี้ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและสภาพจิตใจของเด็ก

นวัตกรรมแปลงเพศจากชายเป็นหญิงด้วยเทคนิคใหม่แห่งแรกในโลก


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

ผศ.พญ.พูนพิศมัย สุวะโจ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมตกแต่ง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ผู้คิดค้นการผ่าตัดแปลงเพศจากชายเป็นหญิงโดยใช้เยื่อบุช่องท้องแบบติดขั้วเส้นเลือด

ธนาคารอสุจิ ธนาคารแห่งความหวังของผู้มีบุตรยาก

ธนาคารอสุจิ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ตั้งอยู่ ณ ชั้น 11 อาคารนวมินทราชินี โดยมี รศ.นพ.วิสันต์ เสรีภาพงศ์ หัวหน้าหน่วยชีววิทยาการเจริญพันธุ์ และ น.ส.จิราพรณ์ เหงี่ยมวิจาวัฒน์ หัวหน้าห้องปฏิบัติการอสุจิ ฝ่ายสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เป็นผู้รับผิดชอบ

ถอดบทเรียนรับมือโควิด-19

ศ.นพ.เทวารักษ์ วีระวัฒกานนท์ หัวหน้าฝ่ายวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมที่เป็นระบบ และมั่นใจว่าหากเกิดสถานการณ์ขึ้นจริง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์จะสามารถประสานความร่วมมือเพื่อฝ่าวิกฤติโรคระบาดนี้ได้อีกครั้งอย่างแน่นอน

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย พัฒนาวัคซีนโควิด-19 สู่การทดสอบในมนุษย์

หลังเกิดการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ หลายประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีความพยายามในการคิดค้นวัคซีนเพื่อใช้ในการรักษาโรคดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง

เครื่องตรวจ MRI หัวใจและหลอดเลือด เทคโนโลยีทันสมัยระดับโลก ศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ผศ.(พิเศษ) นพ.ไพโรจน์ ฉัตรานุกูลชัย หน่วยอายุรศาสตร์หัวใจและหลอดเลือด ศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จะมาบอกเล่าเกี่ยวกับการบริการแบบครบวงจรของศูนย์โรคหัวใจและความโดดเด่นของเครื่องตรวจ MRI หัวใจและหลอดเลือด

รักษาผู้ป่วยโควิด-19 ด้วยพลาสมาของผู้ที่หายป่วยแล้ว ความหวังสำคัญของมนุษยชาติ


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อโรคใดๆ มาก็ตาม หลังจากรักษาจนหายป่วยแล้ว ร่างกายของบุคคลนั้นๆ จะสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาซึ่งตามหลักการของภูมิต้านทานวิทยาพบว่า ภูมิต้านทานนี้เปรียบเสมือนเซรุ่มที่สามารถนำมาใช้รักษาการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี

เครื่องตรวจโควิด-19 อัตโนมัติ ที่แรกและที่เดียว ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ได้มีการรับมอบเครื่องมือตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติเพื่อตรวจหาเชื้อไวรัสโควิด-19 มูลค่า 15 ล้านบาท จากกลุ่มธุรกิจ TCP โดย คุณสราวุฒิ อยู่วิทยา และ คุณรัชสุดา อยู่วิทยา เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพให้แก่โรงพยาบาลในการรับมือกับสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19

ศูนย์ฝึกกู้ชีพ และฝึกทักษะเสมือนจริง

การจัดตั้งศูนย์ฝึกกู้ชีพและฝึกทักษะเสมือนจริง (Simulation & CPR Center) ขึ้น เพื่อพัฒนามาตรฐานของโรงพยาบาลและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างเต็มที่ที่สุด

เอาตัวรอดอย่างไร เมื่อตกอยู่ใน สถานการณ์ความรุนแรง

จากเหตุการณ์โศกนาฏกรรมที่จังหวัดโคราช เมื่อวันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ทั้งประเทศตื่นตระหนกและเศร้าสลดกับความสูญเสียที่เกิดขึ้น หลายหน่วยงานตื่นตัวกับการรับมือกรณีเกิดเหตุวิกฤตเช่นนี้

Minimal Invasive Monitoring ตัวช่วยสำคัญของหมอ และผู้ป่วยในห้องผ่าตัด

ปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่เรียกว่า Minimal Invasive Monitoring หรือเครื่องวัดปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจแบบต่อเนื่อง ที่ช่วยให้การผ่าตัดและการดูแลผู้ป่วยวิกฤติราบรื่นขึ้นมาก

การผ่าตัดสมองแบบผู้ป่วยตื่น (Awake Craniotomy) กับการทำงานเป็นทีมของศัลยแพทย์ วิสัญญีแพทย์ และผู้ป่วย

การผ่าตัดสมองจึงเป็นเรื่องที่มีความซับซ้อนมากที่สุด ปัจจุบันมีการผ่าตัดสมองรูปแบบหนึ่งที่ผู้ป่วยต้องถูกปลุกให้ตื่นขึ้นมาในช่วงหนึ่งของการผ่าตัดเพื่อทำการทดสอบการตอบสนองบางอย่าง การผ่าตัดรูปแบบนี้เรียกว่า การผ่าตัดสมองแบบผู้ป่วยตื่น (Awake Craniotomy)

นวัตกรรมการฟอกตับ ช่วยเพิ่มโอกาสการรอดชีวิตให้กับผู้ป่วย

ปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้ป่วยโรคตับเพิ่มมากขึ้น และคาดว่าในอนาคตจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ด้านโรคไตในภาวะวิกฤต นอกจากจะเชี่ยวชาญการรักษาผู้ป่วยโรคไตแล้ว ยังค้นพบเทคนิคพิเศษที่สามารถรักษาผู้ป่วยโรคตับด้วยการฟอกตับได้อีกด้วย

เจาะลึกกระบวนการผ่าชันสูตรศพ ค้นหาความจริง เพื่อความยุติธรรม


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

การชันสูตรศพในปัจจุบันว่าเมื่อมีผู้พบศพแล้วแจ้งต่อเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ตำรวจ เจ้าพนักงานจะเข้าตรวจสอบพื้นที่และสภาพศพ หากพบว่าการตายนั้นผิดธรรมชาติ จะแจ้งไปยังแพทย์นิติเวชให้เข้ามาร่วมในการชันสูตรศพ

Recreational Drugs Use ความบันเทิงที่อาจถึงแก่ชีวิต

บ่อยครั้งที่เรามักจะได้เห็นข่าวความเสียหายที่เกิดขึ้นกับร่างกาย ชีวิต หรือแม้กระทั่งทรัพย์สิน จากการใช้สารเสพติดตามสถานบันเทิงในหมู่วัยรุ่นและนักท่องเที่ยวในสื่อต่างๆนอกจากการใช้สารเสพติดที่ผิดกฎหมายแล้ว ยังมีการใช้ฤทธิ์ของยาควบคุมบางประเภทแบบผิด

โรคติดเกม ภาวะคุกคามสุขภาพเด็กไทย ที่พ่อแม่ต้องช่วยดูแลและป้องกัน

จากการติดตามข่าวสารในยุคปัจจุบันมักจะเห็นข่าวคราวเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนไทยที่มี “พฤติกรรมติดเกม” มากขึ้น โดยกลุ่มผู้เล่นเกมที่ตกอยู่ในสถานการณ์น่าเป็นห่วงที่สุดก็คือ เด็กและเยาวชนที่ยังไม่สามารถควบคุมตนเองได้

มะเร็งต่อมลูกหมาก ด้วยเทคโนโลยีตัดชิ้นเนื้อโดยใช้ภาพเอกซเรย์คลื่นแม่เหล็ก

ในบรรดาอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะเพศชาย ต่อมลูกหมากเป็นอวัยวะหนึ่งที่พบการเกิดมะเร็งได้บ่อยครั้งมะเร็งต่อมลูกหมาก (Prostate Cancer) เป็นโรคที่มีแนวโน้มจะพบมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในประชากรทั่วโลก

BURNOUTหมดไฟในการทำงาน ภาวะคุกคามคุณภาพชีวิตแห่งโลกยุคใหม่

ภาวะคุกคามคุณภาพชีวิตของคนในปัจจุบันอาจไม่ใช่เพียงแค่โรคทางกายเท่านั้น แต่สภาวะความผิดปกติทางจิตใจกำลังเป็นภัยเงียบที่คุกคามคนวัยทำงานยุคนี้ ล่าสุดภาวะนี้กำลังเป็นที่กล่าวถึงในโลกออนไลน์อย่างแพร่หลาย ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะประชาชนคนทำงานรู้สึกถึงความเชื่อมโยงกับความรู้สึก “เหนื่อยล้าจากการทำงาน ไม่มีใจ หมดแรง และหมดไฟ” ที่กำลังเผชิญอยู่นั่นเอง

หน่วยปฏิบัติการวิจัยภาพทางชีวการแพทย์ แห่งแรกในโรงเรียนแพทย์ของประเทศไทย


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

ไม่มีอะไรจะดีไปกว่าการที่แพทย์สามารถมองเห็นโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของผู้ป่วยได้อย่างชัดเจนและแม่นยำ ดังนั้นศาสตร์การแพทย์สาขารังสีวิทยาจึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อตอบโจทย์ดังกล่าวด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์ในปัจจุบันที่ก้าวล้ำนำสมัยมากขึ้นเรื่อยๆ

เครื่องอัลตราซาวนด์ สำหรับให้น้ำเกลือในผู้ป่วยเด็ก ช่วยในการเปิดเส้นเลือดดำ

การนำเครื่องอัลตราซาวนด์มาใช้ในการเปิดเส้นเลือดดำนั้นสามารถทำได้อย่างไม่มีข้อจำกัด ช่วยให้แพทย์มองเห็นเส้นเลือดดำได้อย่างชัดเจนสามารถทำการเปิดเส้นเลือดดำได้สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ฝ่ายวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กับ เทคโนโลยีด้านวิสัญญีที่ทันสมัย ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ

ฝ่ายวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานสำคัญในการให้ยาระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด จึงนำเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยสูงสุดเข้ามาใช้ในการรักษาผู้ป่วย ถือได้ว่าครอบคลุมและครบครัน มากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ

ทางเลือกใหม่พิชิตมะเร็ง

การรักษามะเร็งด้วยสารเภสัชรังสี เป็นวิธีการรักษาที่ใช้การให้สารเภสัชรังสีเข้าสู่ร่างกายของผู้ป่วยโดยตรง เพื่อให้สารเภสัชรังสีนั้นไปจับที่เซลล์มะเร็งและแผ่รังสีทำลายเซลล์มะเร็งภายในร่างกายของผู้ป่วย ซึ่งแตกต่างจากการรักษามะเร็งด้วยวิธีรังสีรักษา

เครื่องเลเซอร์กำลังสูง (High Power Laser) เจ็บปวดเฉียบพลัน อาการดีขึ้นได้ในทันที

หลายปีที่ผ่านมานวัตกรรมทางการแพทย์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องเลเซอร์กำลังสูง (High Power Laser)

ความหวังใหม่ในอนาคต เพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพชีวิตด้วยนีโอแอนติเจนและวัคซีนต่อมะเร็ง


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นโรคร้ายอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตคนไทยมากที่สุด นอกจากนี้สถิติการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง ยังมีอัตราเพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปี โรคมะเร็งจึงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่แท้จริงของประเทศไทย

กลุ่มวิจัยภูมิคุ้มกันด้านเซลล์บำบัดมะเร็ง

การวิจัยและพัฒนาการรักษามะเร็งด้านภูมิคุ้มกันบำบัดซึ่งจะเน้นพัฒนาการรักษาโรคมะเร็งที่เป็นปัญหาในประชากรไทย เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงการรักษาโรคมะเร็งอย่างเท่าเทียมและมีประสิทธิภาพ เพื่อลดการนำเข้ายาและเทคโนโลยีในการรักษามะเร็งด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดจากต่างประเทศซึ่งมีราคาสูง

ยาแอนติบอดี้รักษามะเร็ง ความหวังของคนไทยทั้งประเทศ

“จะเป็นไปได้หรือไม่…หากคนไทยสามารถพัฒนาและผลิตยาแอนติบอดีสำหรับรักษามะเร็งเพื่อลดต้นทุนจากเดิมที่มีราคาสูงถึง 200,000 บาทต่อเข็ม ให้เหลือเพียง 20,000 บาทต่อเข็ม”

นอนกัดฟัน…เรื่องเล็กที่ไม่ควรมองข้าม


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

คุณนอนกัดฟันหรือไม่? ถ้าคำตอบคือ “ไม่แน่ใจ” หรือ “ไมรู้” เช่นนั้นแล้วคุณเคยประสบกับปัญหาตื่นเช้ามาแล้วรู้สึกไม่สดชื่น ปวดศรีษะ ปวดข้อต่อขากรรไกร หรือฟันโยกอย่างหาสาเหตุไม่ได้มาก่อนหรือไม่? ถ้าคำตอบ คือ “ใช่” แสดงว่าคุณอาจกำลังประสบกับโรคความผิดปกติจากการหลับอย่างไม่รู้ตัว

เทคนิคใหม่พิชิตอาการกระดูกทับเส้นประสาท เจ็บน้อย หายเร็ว สูงวัยก็ผ่าตัดได้

ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคกระดูกสันหลังสามารถประยุกต์ใช้ “สกรูเหล็กชนิดใหม่” ผสมผสานกับ “เทคนิคใหม่” ทำให้การรักษาที่มีประสิทธิผลมากขึ้น โดยไม่ต้องเปลี่ยนหมอนรองกระดูก

ห้องผ่าตัดระบบไฮบริด(Hybrid) นวัตกรรมอิจฉริยะเพื่อผู้ป่วยโรคหัวใจ

คอลัมน์ “บอกเล่าก้าวทันหมอ” ฉบับนี้จะพาท่านผู้อ่านไปเยี่ยมชมและรู้จักกับ “ห้องผ่าตัดระบบไฮบริด” ห้องล่าสุดของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

แขนกลช่วยผ่าตัด (Robotic Surgery) ทางเลือกที่แพทย์ใช้ – ทางรอดที่ผู้ป่วย “มะเร็งต่อมลูกหมาก” มั่นใจ

การผ่าตัดโดยใช้แขนกลหรือหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด (Robotic Surgery)เป็นเทคโนโลยีทางการแพทย์ ที่มีต้นกำเนิดจากประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อราวๆ 10 ปีที่ผ่านมา

Minimally Invasive Surgery การผ่าตัดแบบส่องกล้อง เจ็บน้อย แผลเล็ก

การผ่าตัดแบบส่องกล้องเริ่มเป็นที่รู้จักในวงการศัลยแพทย์ไทย ในปี พ.ศ. 2536 โดยเริ่มจากการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี จากนั้นจึงมีการศึกษา วิจัยอย่างต่อเนื่อง

การรักษาริดสีดวงทวารด้วยเลเซอร์ ทางเลือกใหม่ที่ไม่ต้องทนเจ็บปวดหลังการผ่าตัด

เมื่อเอ่ยถึงโรค “ริดสีดวงทวาร”แล้วละก็ เชื่อว่าสิ่งแรกที่หลายๆ คนนึกถึงคือความเจ็บปวดทรมานอย่างสาหัส

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเปิดบ้านพักพิง โรนัลด์ แมคโดนัลด์ เฮ้าส์

ผู้เข้าพักต้องผ่านการคัดกรองจากคณะกรรมการบริหารบ้านพักพิง โรนัลด์ แมคโดนัลด์ เฮาส์ เพื่อเข้าพักในบ้านพักพิงฯ ตามความจำเป็นที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ

นวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ยุค 4.0

นวัตกรรมทางการแพทย์ใหม่ล่าสุดของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ที่กำลังเป็นที่จับตามองในแวดวงสาธารณสุขไทย และประสบความสำเร็จในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการเฉียบพลันร้ายแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที

บอกลา “มอร์ฟีน” ด้วยวิทยาการระงับปวดมะเร็งเรื้อรังแบบใหม่

เพราะเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์ที่ก้าวล้ำในปัจจุบัน ทำให้ผู้ป่วยยุคนี้ไม่ต้องทนทุกข์ทรมานกับอาการเจ็บปวดอีกต่อไป ทั้งยังมีคุณภาพชีวิตที่ดีในขณะรับการรักษาอีกด้วย

บอกลาอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ ด้วยการ “ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม”

“อาการปวดเข่า” เป็นอีกหนึ่งอาการที่บ่งบอกถึงความเสื่อมถอยของร่างกายในผู้สูงอายุ

นิติเวชศาสตร์กับผลงาน “ตรวจดีเอ็นเอ (DNA) พิสูจน์สัญชาติไทย”

“คนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ” เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่สังคมไทยไม่อาจจะมองข้ามได้ เพราะบุคคลเหล่านี้คือ ผู้ปราศจากหลักฐานถิ่นอาศัยที่ออกให้โดยรัฐทำให้คนกลุ่มนี้ขาดสิทธิในการเข้าถึงบริการพื้นฐานต่างๆที่พึงได้รับ จากหน่วยงานของรัฐ เช่น สิทธิในการศึกษาและสิทธิในระบบสุขภาพ เป็นต้น อุปสรรคดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของพวกเขาเหล่านี้เป็นอย่างยิ่ง

Cognitive Fitness Center ฟิตเนสฝึกสมองผู้สูงอายุ


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

การฝึกสมองมันไม่ได้ฝึกเรื่องความจำเท่านั้น แต่กิจกรรมต่างๆ ยังต้องช่วยในการฝึกสมาธิ ฝึกการรับรู้ ฝึกการคิด การวางแผนการตัดสินใจ รวมไปถึงการเข้าสังคมด้วย

ศูนย์ฝึกผ่าตัด คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Soft Cadaver Surgical Training Center)

เพราะการฝึกฝนความเชี่ยวชาญเพื่อพัฒนาศักยภาพในการให้บริการผู้ป่วย คือหนึ่งในภารกิจของแพทย์และนักเรียนแพทย์ทุกคน ดังนั้นบทบาทของ “อาจารย์ใหญ่” หรือผู้อุทิศร่างกายหลังสิ้นลมหายใจ

รังสีรักษาและมะเร็งวิทยาจุฬาฯ กับเครื่องฉายรังสี ที่ทันสมัยที่สุดในประเทศ

รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา จุฬาฯ กับเครื่องฉายรังสีที่ทันสมัยที่สุดในประเทศ ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์และความสามารถของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่พัฒนาไม่หยุดยั้ง

เทคโนโลยีช่วยชีวิต ECMO: Save a life

จากเหตุการณ์นักแสดงหนุ่มชื่อดังเข้ารับการรักษาโรคไข้เลือดออกชนิดรุนแรงเมื่อช่วงปลายปี 2558 ที่ผ่านมานั้น ทำให้เครื่องเอคโม่ (ECMO) เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น

การปลูกถ่ายไตข้ามหมู่เลือดนวัตกรรมใหม่ของไทยและอาเซียน

ในสังคมปัจจุบันไม่เพียงแต่โรคร้ายแรงอย่างกลุ่มโรคมะเร็งเท่านั้นที่เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขระดับชาติ หากแต่ว่า “โรคเรื้อรัง” อย่าง “โรคไต”

Resus Ultrasound แอพพลิเคชั่นสุดล้ำ เพื่องานแพทย์ฉุกเฉินทั่วโลก

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โลกยุคดิจิตอลได้เปลี่ยนวิถีชีวิตเราในทุกด้านอย่างก้าวกระโดด งานแพทย์ก็เช่นกัน จากตำราแพทย์เล่มใหญ่ยักษ์ได้เปลี่ยนโฉมเป็นแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน

Chula GenePRO: ถอดรหัสพันธุกรรมเซลล์มะเร็งเพื่อการรักษาที่ตรงจุด

เพราะ “มะเร็ง” คือโรคร้ายแรงที่บั่นทอนสิ่งต่างๆ รอบด้านของชีวิต เทคโนโลยีการรักษาในปัจจุบันจึงเป็นที่คาดหวังว่า ไม่เพียงรักษาให้หายจากโรคร้ายเท่านั้น

วิทยาการการล้างไตทางช่องท้องผ่านสื่อภาพยนตร์แอนนิเมชั่น รู้ทันโรคไตกับคิดดี

ภาพยนตร์แอนนิเมชั่น “รู้ทันโรคไตกับคิดดี” เป็นการให้ความรู้ผู้ป่วยผ่านสื่อออนไลน์ โดยผสานระหว่างงานศิลปะวัฒนธรรมของไทย คติธรรม และวิทยาการการรักษาที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

Stem Cell and Regenerative Medicine

ในช่วงระยะเวลา 10 ปี ที่ผ่านมา คำว่า “สเต็มเซลล์ (Stem Cell) หรือเซลล์ต้นกำเนิด” ได้ถูกกล่าวถึงและนำไปใช้อ้างอิงกันอย่างแพร่หลายในผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ด้วยนวัตกรรมการรักษาที่ก้าวล้ำ

รพ.จุฬาฯ เปิดตัวเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สำหรับเต้านม 3 มิติรุ่นล่าสุดเครื่องแรกของโลก

ภายหลังจากที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผู้อำนวยการสภากาชาดไทย เสด็จพระราชดำเนินเพื่อทอดพระเนตรการดำเนินงานและเยี่ยมชมนวัตกรรมการตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งเต้านม

เมื่อน้ำในหูไม่เท่ากัน


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

“โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน” เป็นชื่อที่เรียกกันโดยทั่วไปของโรคเมเนียร์ (Meniere’s disease) แม้ว่าจะยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรคนี้ แต่ก็พบว่าอาการของโรคเมเนียร์

FACELIFT ดึงหน้า บอกลาริ้วรอย โดยไม่หลงเชื่อสื่อโซเชียล

คําว่า Faceift นั้นหากแปลให้ถูกต้อง คือ “ยกหน้า” แต่คนไทยเรียกว่า “ดึงหน้า” จนกลายเป็นคําเรียกติดปาก และใช้กันจนเป็นทางการไปแล้ว

ทางเลือกใหม่ ลดปวดเรื้อรัง – ออฟฟิศซินโดรม ด้วย Shock Wave

สิ่งบั่นทอนคุณภาพชีวิตและการทํางานอย่างหนึ่งของคนยุคนี้สมัยนี้ คงหนีไม่พ้นอาการปวดเรื้อรัง

เวชพันธุศาสตร์กับเทคโนโลยีทางการแพทย์แห่งอนาคต

การศึกษาโรคทางพันธุกรรมทําให้เกิดความรู้และความเข้าใจ ที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับสาเหตุ และกลไก ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค

เทคโนโลยีใหม่ล่าสุด รักษาต้อกระจก แห่งเดียวในไทย แห่งแรกในอาเซียน

ในผู้สูงอายุหนึ่งในภาวะนั้นก็คือ “ต้อกระจก” ซึ่งเป็นภาวะที่เลนส์ตาขุ่นมัว แสงไม่สามารถผ่านเข้าไปในตาได้ ตามปกติ ทําให้ผู้ป่วยมองเห็นภาพได้ไม่ชัดหรือพร่ามัว

เปิดตัวนวัตกรรมรักษาผู้ป่วยโรคหืดขั้นรุนแรง แห่งแรกในประเทศไทย

นับเป็นอีกหนึ่งความภาคภูมิใจของประเทศไทยและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ อีกทั้งยังเป็นความหวังใหม่ของ ผู้ป่วยโรคหืดขั้นรุนแรง

ปัญหาสายตา VS ชีวิตหน้าจอฯ

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ชีวิตติดหน้าจอ ของทุกเพศทุกวัย ในยุคสมัยนี้ ทั้งเกมออนไลน์ โซเชียลเน็ตเวิร์ค หรือการทํางาน หน้าจอคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพดวงตา

อยู่กับภาวะ “หัวใจล้มเหลว” อย่างไร ให้ “สำเร็จ”

เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวล้ำ นําสมัย ในศตวรรษนี้ ให้ชีวิตใหม่กับผู้ป่วย “โรคร้ายแรง” ได้อย่างน่ามหัศจรรย์

จับตาความเคลื่อนไหว โรคไข้ซิกา ภัยใหม่จากยุงลาย

นอกจากโรคไข้เลือดออกแล้ว หากกล่าวถึงโรคระบาดที่ถูกพูดถึงอย่างมากในช่วงเวลานี้คงหนีไม่พ้นเรื่อง ของ โรคไข้ซิกา ที่มียุงลายเป็นพาหะ