ทำความรู้จักโรคมาลาเรีย
โรคมาลาเรีย หรือ โรคไข้ป่า ไข้จับสั่น เป็นโรคที่กิดจากเชื้อโปรโตซัวกลุ่ม “พลาสโมเดียม” (Plasmodim) เข้าไปทำลายเซลล์เม็คลือดแดงของผู้ป่วย มียุงก้นปล่อง เป็นพาหะนำโรค
เชื้อก่อโรคมาลาเรียในคน มี 5 ชนิด
- Plasmodium falciparum พบในไทยและพบได้บ่อยในแถบแอฟริกา เป็นชนิดที่รุนแรงที่สุดและอาจทำให้เสียชีวิตได้
- Plasmodium vivax พบในไทยและหลายประเทศในเขตร้อนสามารถแฝงตัวอยู่ในตับได้นานเป็นปีหลังจากติดเชื้อ
- Plasmodium ovale สามารถแฝงตัวอยู่ในตับได้นานเป็นปืหลังจากติดเชื้อ
- Plasmodium malarice อาจทำให้เกิดการติดเชื้อเรื้อรัง
- Plasmodium knowlesi พบได้บ่อยในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ในไทยพบได้บ้าง ชนิดนี้มีการดำเนินโรคอย่างรวดเร็วจนเข้าสู่ภาวะติดเชื้อเรื้อรัง
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่อาจทำให้เสียชีวิต เช่น เชื้อมาลาเรียขึ้นสมอง ระบบการแข็งตัวของเลือด บกพร่อง ไตวาย ตับ/ มามโต
การวินิจฉัย
- เจาะเลือดเพื่อแยกชนิดของเชื้อมาลาเรีย
- ประเมินอาการและให้ยารักษาตามชนิดของเชื้อ
หากมีไข้สูงหลังกลับจากพื้นที่เสี่ยงให้รีบพบแทย์ และแจ้งประวัติการเดินทางให้ครบถ้วน
ข้อมูล ณ วันที่ 5 กันยายน 2562
ที่มา : ศ.ดร.นพ.เผด็จ สิริยะเสถียร