หน่วยปฏิบัติการวิจัยภาพทางชีวการแพทย์ แห่งแรกในโรงเรียนแพทย์ของประเทศไทย


บอกเล่า ก้าวทันหมอ

ไม่มีอะไรจะดีไปกว่าการที่แพทย์สามารถมองเห็นโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของผู้ป่วยได้อย่างชัดเจนและแม่นยำ ดังนั้นศาสตร์การแพทย์สาขารังสีวิทยาจึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อตอบโจทย์ดังกล่าวด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์ในปัจจุบันที่ก้าวล้ำนำสมัยมากขึ้นเรื่อยๆ

บริจาคน้ำยาถนอมอวัยวะเพื่อใช้ในการปลูกถ่ายไต


ข่าวประชาสัมพันธ์

บริษัท ส.เจริญเภสัชเทรดดิ้ง จำกัด โดย ดร.ประสิทธิ์ – คุณโฆษิต สันตโยดม บริจาคน้ำยาถนอมอวัยวะ Bretschneiders HTK – Solution ขนาด 1,000 ml

มอบตุ๊กตาช้าง สำหรับบริหารมือ


ข่าวประชาสัมพันธ์

มอบตุ๊กตาช้าง สำหรับบริหารมือ ให้กับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย จำนวน 300 ตัว

ประชุมวิชาการ “วิชาชีพพยาบาลท่ามกลางกระแสความพลิกผันของระบบสุขภาพ”

วันที่ 20 – 21 มิถุนายน 2562 ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย จัดการประชุมวิชาการ ประจำปี 2562 ในหัวข้อ ” วิชาชีพพยาบาลท่ามกลางกระแสความพลิกผันของระบบสุขภาพ” (Nursing Profession & The Coming Wave of Healthcare Disruption)

พิธีติดตั้งเครื่องไซโคลตรอน ศูนย์โปรตอนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ


ข่าวประชาสัมพันธ์

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานการติดตั้งเครื่องไซโคลตรอน เพื่อเร่งอนุภาคโปรตอน ของศูนย์โปรตอนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม บริจาค

ผศ.ทินกร บัวพูล ผู้อำนวยการโรงเรียน มอบเงินบริจาค จากโครงการเทศน์มหาชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี แห่งการสถาปนา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม จำนวน 439,743.68 บาท

Lean in Healthcare


ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์พัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) Lean in Healthcare หน่วยงานบริการทางคลินิค หน่วยงานสนับสนุนบริการทางคลินิค ห้องปฏิบัติการ และหน่วยงานสนับสนุนบริการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

สมทบกองทุน ส.ธ. เพื่อผู้สูงวัย จัดซื้อรถตู้ รับ-ส่งผู้ป่วย

คุณประเสริฐ – คุณสมิทธิ เนาถาวร บริจาคเงิน จำนวน 1,540,000 บาท สมทบกองทุน ส.ธ. เพื่อผู้สูงวัย สำหรับจัดซื้อรถตู้ รับ-ส่งผู้ป่วย โดยมี ผศ.นพ. สุรชัย เคารพธรรม เป็นผู้แทนรับมอบ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2562 ณ ศาลาทินทัต

รู้เท่าทันภัยคุกคามโลกออนไลน์ Cyber Security 4.0

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จัดโครงการอบรมวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ปี 2562 เรื่อง “รู้เท่าทันภัยคุกคามโลกออนไลน์ Cyber Security 4.0”

วิ่งการกุศล ซื้อเครื่องมือผ่าตัดรักษาโรคจอตาลอก

แถลงข่าวการเตรียมจัดงานวิ่งการกุศล “Restore Vision, Run for Sight” ในวันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน 2562 เพื่อเฉลิมฉลองโอกาสที่ดำเนินธุรกิจในประเทศไทยครบรอบ 60 ปี โดยนำรายได้จากการจำหน่ายบัตรและเงินบริจาคของ PwC ประเทศไทย มอบให้กับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

วันอานันทมหิดล ประจำปี 2562

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปถวายราชสักการะ พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 8

วันอานันทมหิดล 2562


ข่าวประชาสัมพันธ์

วางพวงมาลาน้อมเกล้าฯ ถวายสักการะ พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 8 ผู้พระราชทานกำเนิด “แพทย์จุฬาฯ”

ลงนามถวายพระพร

เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ในวันจันทร์ที่ 3 มิถุนายน 2562

วันงดสูบบุหรี่โลก ประจำปี 2562

ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ ร่วมเปิดกิจกรรมรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก ประจำปี 2562

มะเร็งท่อน้ำดี

มะเร็งท่อน้ำดีเป็นก้อนเนื้อร้ายที่พบที่ท่อทางเดินน้ำดี ซึ่งเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศไทยอีกด้วย

ภาวะใบหูเล็กไม่สมบูรณ์

ภาวะใบหูเล็กแต่กำเนิด (Microtia) ภาวะใบหูเล็กแต่กำเนิดเป็นความผิดปกติบนใบหน้าชนิดหนึ่งที่สังเกตได้ชัดเจนด้วยตาเปล่า สามารถพบได้ในเด็กแรกเกิดประมาณ 1 ใน 5,000 ราย พบในคนเอเชียมากกว่าคนขาว และพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง ในอัตราส่วน 2-3 ต่อ 1 ราย

โรคปากแหว่งเพดานโหว่

ปากแหว่งเพดานโหว่ (cleft lip and cleft palate) เป็นความพิการของใบหน้าที่เกิดกับทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคปากแหว่งเพดานโหว่ ประมาณ 1- 2 คนต่อทารกแรกเกิด 1,000 คน โดยพบมากที่สุดที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 700 – 800 คนต่อปี

กลุ่มอาการครูซอง

กลุ่มอาการครูซอง (Crouzon syndrome) เป็นโรคความพิการที่เกิดจากการมีรอยประสานของกะโหลกศีรษะและใบหน้าหลายตำแหน่งเชื่อมติดกันผิดปกติ โดยเกิดขึ้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา และดำเนินต่อเนื่องภายหลังจากคลอดออกมาแล้ว

โรคติดเชื้ออาร์เอสวี (RSV)

โรคติดเชื้ออาร์เอสวี (Respiratory syncytial virus, RSV) ทำให้เกิดการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่างได้แก่ หลอดลม หลอดลมส่วนปลาย และถุงลม พบบ่อยในเด็กโดยเฉพาะเด็กเล็กซึ่งมักมีอาการรุนแรง

เครื่องอัลตราซาวนด์ สำหรับให้น้ำเกลือในผู้ป่วยเด็ก ช่วยในการเปิดเส้นเลือดดำ

การนำเครื่องอัลตราซาวนด์มาใช้ในการเปิดเส้นเลือดดำนั้นสามารถทำได้อย่างไม่มีข้อจำกัด ช่วยให้แพทย์มองเห็นเส้นเลือดดำได้อย่างชัดเจนสามารถทำการเปิดเส้นเลือดดำได้สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

อาการฟกช้ำและปวดเคล็ด

ในชีวิตประจำวันของคนเราที่ต้องทำสิ่งต่างๆ มากมายตลอดทั้งวัน เราอาจพบเจออุบัติเหตุต่างๆ ระหว่างวัน ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการฟกช้ำได้ทั้งโดยที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว แม้ว่าอาการเหล่านี้จะไม่รุนแรงมาก แต่ก็ควรทราบวิธีการดูแลอย่างถูกต้อง เพื่อบรรเทาอาการให้ดีขึ้นหากเกิดเหตุการณ์กับตนเอง

การนอนกรนในเด็ก

จากการศึกษาพบว่า 20% ของเด็กมีอาการนอนกรน 7-10% มีอาการนอนกรนทุกคืน เด็กหลายรายที่นอนกรนนั้นมีสุขภาพดี แต่ประมาณ 2% พบว่ามีปัญหาในขณะหลับและมีปัญหาในการหายใจ

อาการเต้านมคัด

เกิดจากการสร้างน้ำนมแม่ได้มาก แต่ไม่สามารถระบายน้ำนมออกหรือระบายออกไม่ทัน จึงเกิดอาการคัด บวม แข็ง เต้านมจะร้อน ผิวแดงเป็นมัน เจ็บ

ท่อน้ำนมอุดตัน

 ท่อน้ำนมอุดตัน (blocked duct) จะเป็นก้อนไตแข็งๆ ที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งของเต้านม โดยไม่ได้เป็นทั้งเต้า เมื่อกดลงไปจะรู้สึกเจ็บและอาจบวมแดง แต่ไม่มีไข้

ต่อมลูกหมากโต

ต่อมลูกหมากเป็นส่วนหนึ่งของอวัยวะสืบพันธุ์ รูปร่างคล้ายลูกเกาลัดหุ้มรอบท่อปัสสาวะส่วนต้น  ปรกติจะมีขนาดประมาณ 15-20 กรัม  หน้าที่ที่สำคัญของต่อมลูกหมาก คือ การสร้างน้ำอสุจิ โดยทั่วไปต่อมลูกหมากจะหยุดเจริญเติบโตหลังจากอายุ 20 ปี  จนกระทั่งอายุประมาณ 45 ปี จะมีการเพิ่มขนาดขึ้นอีกครั้ง และเป็นจุดเริ่มต้นของโรคต่อมลูกหมากโต

โรคใบหน้าแหว่งแต่กำเนิด

โรคใบหน้าแหว่งแต่กำเนิด (Congenital Facial Cleft) เป็นความพิการแต่กำเนิดชนิดรุนแรงประเภทหนึ่งที่มีโอกาสพบได้ทั่วไป นอกจากจะมีผลกระทบทางด้านร่างกายแล้ว ยังส่งผลกระทบทางจิตใจต่อผู้ป่วยและครอบครัว

ไขมันทรานส์ พิษร้ายใกล้ตัว

ขมันมันทรานส์ หรือเรียกอีกชื่อว่า transfat เป็นไขมันที่มีในธรรมชาติน้อยมากแต่เกิดจากการดัดแปลงโครงสร้างของน้ำมันพืชหรือไขมันไม่อิ่มตัวด้วยกระบวนการ hydrogenation หรือ การเติมหมู่ไฮโดรเจน ทำให้น้ำมันพืชมีลักษณะคงตัวที่อุณหภูมิห้อง ทนความร้อนได้สูง ไม่เหม็นหืน

โรคไข้เลือดออก

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ต้องอาศัยการวินิจฉัยที่ถูกต้องและรวดเร็ว เฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคนี้พบบ่อยในฤดูฝน เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกีซึ่งมี 4 ชนิดและมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กโต วัยรุ่น และผู้ใหญ่อายุน้อย

โรค NCDs คร่าชีวิตคนไทยมากที่สุด

โรค NCDs (Non-communicable diseases)  คือ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค และไม่มีการแพร่กระจายจากคนสู่คน แต่โรค NCDs มีสาเหตุจากพฤติกรรมเป็นหลัก ซึ่งคร่าชีวิตคนไทยมากกว่าสาเหตุอื่นๆ

สมาร์ทโฟนซินโดรม และ ออฟฟิศซินโดรม

สมาร์ทโฟนซินโดรม และออฟฟิศซินโดรม โดยทั้งสองโรคมีอาการคล้ายคลึงกันบางส่วน เนื่องจากปัจจุบันนคนนิยมใช้สมาร์ทโฟนมากขึ้น ตั้งแต่เด็กเล็ก วัยรุ่น คนทำงานหนุ่มสาว หรือผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เห็นได้ง่าเกือบทุกวัย ทุกวันจะมีการใช้สมาร์ทโฟนมากขึ้น ในขณะที่ออฟฟิศซินโดรมจะเกิดกับคนทำงาน

ไวรัสตับอักเสบบี

คนไทยเป็นแหล่งพาหะของไวรัสตับอักเสบบี หรือเป็นไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรังเกิน 6 เดือน ซึ่งพบประมาณ 2-3 คน ใน 100 คน โดยเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากกว่าที่คิด ส่วนใหญ่ได้รับเชื้อมาจากมารดาตั้งแต่เป็นทารก